FRAMES OF WAR : WHEN IS LIFE GRIEVABLE ? 

Judith Butler 

520 ฿

Out of stock

Frames of War: When is Life Grievable ?

Judith Butler 

English

2009
Published by Verso
Printed by CPI Group 

United Kingdom

19.8 x 13 cm, 224 pages, b/w, offset, glue bound, softcover

In Frames of War, Judith Butler explores the media’s portrayal of state violence, a process integral to the way in which the West wages modern war. This portrayal has saturated our understanding of human life, and has led to the exploitation and abandonment of whole peoples, who are cast as existential threats rather than as living populations in need of protection. These people are framed as already lost, to imprisonment, unemployment and starvation, and can easily be dismissed. In the twisted logic that rationalizes their deaths, the loss of such populations is deemed necessary to protect the lives of ‘theliving.’ This disparity, Butler argues, has profound implications for why and when we feel horror, outrage, guilt, loss and righteous indifference, both in the context of war and, increasingly, everyday life.

This book discerns the resistance to the frames of war in the context of the images from Abu Ghraib, the poetry from Guantanamo, recent European policy on immigration and Islam, and debates on normativity and non-violence. In this urgent response to ever more dominant methods of coercion, violence and racism, Butler calls for a re-conceptualization of the Left, one that brokers cultural difference and cultivates resistance to the illegitimate and arbitrary effects of state violence and its vicissitudes.

 

Frames of War: When is Life Grievable ?

จูดิธ บัทเลอร์

ภาษาอังกฤษ

2552
จัดทำโดย Verso
พิมพ์โดย CPI Group

สหราชอาณาจักร

19.8 x 13 ซม, 224 หน้า, ขาว/ดำ, ออฟเซต, ไสกาว, ปกอ่อน

ในหนังสือ  Frames of War เล่มนี้ จูดิธ บัทเลอร์  ศึกษาภาพความรุนแรงของรัฐที่ถูกผลิตผ่านสื่อ กระบวนการผลิตนี้เป็นส่วนประกอบสำคัญของวิธีที่ชาวตะวันตกใช้ในการเข้าร่วมกับสงครามสมัยใหม่ ภาพเหล่านี้ครอบงำความเข้าใจต่อชีวิตของมนุษย์ และนำไปสู่การฉวยโอกาสและละเลยความเป็นมนุษย์ของคนคนหนึ่ง ให้กลายเป็นเพียงภัยคุกคาม มากกว่าการเป็นประชากรที่มีชีวิตซึ่งต้องการได้รับความคุ้มครอง กลุ่มคนเหล่านี้ถูกทำให้เห็นว่าสูญหาย ถูกจองจำ ไม่มีงานทำ อดอยาก และสามารถถูกละทิ้งไปได้โดยง่าย ด้วยตรรกะที่บิดเบือนและเหตุผลต่อความตายของคนเหล่านี้คือความจำเป็น เพื่อที่จะปกปักรักษาชีวิตของ ‘สิ่งมีชีวิต’ อื่นๆ บัทเลอร์กล่าวว่า ความไม่เสมอกันนี้ มีนัยยะที่ลึกซึ้งต่อสาเหตุและช่วงเวลาที่เรารู้สึกหวาดกลัว รู้สึกสยดสยอง รู้สึกผิด รู้สึกสูญเสีย และเพิกเฉยต่อความถูกต้อง ทั้งในบริบทของสงคราม และยิ่งเป็นมากขึ้นเรื่อยๆ ในบริบทของชีวิตประจำวัน

หนังสือเล่มนี้มองเห็นการขัดขืนไม่จำนนต่อภาพของสงคราม ในบริบทของภาพจากอาบู กราอิบ (เรือนจำในประเทศอิรัก) บทกวีจากคุกกวนตานาโม (คุกลับของสหรัฐฯ นคิวบา ใช้เป็นสถานที่สอบปากคำนักโทษหรือผู้ต้องสงสัยคดีการก่อการร้าย) นโยบายยุโรปล่าสุดเกี่ยวกับการอพยพของชาวอิสลาม และการถกเถียงเกี่ยวกับกฎเกณฑ์และการไม่ใช้ความรุนแรง การตอบสนองอย่างเร่งด่วนนี้ต่อวิธีที่บีบบังคับ ความรุนแรง และเหยียดชนชาติ บัทเลอร์เรียกร้องให้เกิดการสร้างแนวคิดใหม่ของฝ่ายซ้าย แนวคิดที่จะการสร้างความแตกต่างทางวัฒนธรรมและปลูกฝังความต้านทานต่อสิ่งที่อยู่นอกกฎหมาย และผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยไม่ตั้งใจจากความรุนแรงของรัฐ และความผันผวนของมัน

ISBN 978-1-7847824-7-4