BRICKS FROM THE KILN #4

Natalie Ferris, Bryony Quinn, Matthew Stuart and Andrew Walsh‐Lister (Co-editor)

1,330 ฿

Out of stock

Bricks from the Kiln #4
Natalie Ferris, Bryony Quinn, Matthew Stuart and Andrew Walsh‐Lister (Co-editor)

English

2020
Published by Bricks from the Kiln
(Published as event / publication)
London, UK
Edinburgh, Scotland
Chicago, USA

Designed by Andrew Lister and Matthew Stuart
17 x 22.4 cm, 288 pages (with insert), color, offset, perfect bound, pvc dust jacket
Edition limited to 1,000 copies

A Note on the Type
The fourth issue of Bricks from the Kiln is typeset in Marist, a typeface designed by typographer Seb McLauchlan throughout 2019 และ 2020. Refined and expanded as the issue evolved, eeach affiliate piece of printed matter produced over the cause of compiling the issuee operated as a real-time snapshot of  the typeface’s development, moving from Alpha to Beta to completion. Now “resolves”, the expanded family extends to book (this), roman, medium, demi, bold and black weights, as well as accompanying italics and SMALL CAPS. Throughout the issue, body text and titles are typeset at 10pt / 12pt and context notes / footnotes (such as this) at 8pt / 9pt.

Martist’s design is inspired by tracing the history and legacy of the often overlooked (and sometimes maligned) Oldstyle genre. From its early developments in Italy under Nicholas Jenson, to its revival under William Morris, The dove Type Foundry and others, to its more successful cousin like Stanley Morison’s Times and Plantin’s serif. Marist follows a loose path across these various spots in the canon, and attempts to find something novel and appropriate for our current time.

About Bricks from the Kiln
“The notion of this content being on or around graphic design relates to the fact that BFTK ultimately collects the kinds of writing that interests and excites us first and foremost as readers, and secondly as designers and typographers. The majority of the writing isn’t necessarily aboutgraphic design or design criticism, but, given that both of our backgrounds are in graphic design, it can be seen through this lens. It’s certainly open-ended though, and deliberately so. Graphic design can sometimes be seen negatively as a kind of parasitic activity, in the way that it attaches itself to other disciplines. However that’s not the case for us. The way in which it can operate as a conduit that both shapes and carries material, and the proximity to other disciplines that it affords, is probably what drew us both to it as as field in the first place. Perhaps “on or around graphic design” isn’t exactly right, but it oddly seems at once more specific and more vague than terms like “visualculture” or “visual communication,” or even “cultural studies,” which are in the right ballpark but don’t sit quite right with us.” — Andrew Lister and Matthew Stuart, interviewed by Paul Bailey in the Gradient

 

 

Bricks from the Kiln #4
นาตาลี เฟอร์ริส, ไบรโอนี ควิน, แมทธิว สจวร์ต และแอนดริว ลิสเตอร์ (บรรณาธิการร่วม)

ภาษาอังกฤษ

2563
จัดทำโดย Bricks from the Kiln
ลอนดอน, สหราชอาณาจักร
เอดินบะระ, สก็อตแลนด์
นิวยอร์ก, สหรัฐอเมริกา

ออกแบบโดย แอนดริว ลิสเตอร์ และ แมทธิว สจวร์ต
17 x 22.4 ซม, 288 หน้า (พร้อมไส้ใน), สี, ออฟเซต, ไสกาว, ปกอ่อนแจ็กเก็ตพลาสติก
พิมพ์จำกัดจำนวน 1,000 เล่ม

A Note on the Type (บันทึกถึงตัวอักษร)

เล่มที่สี่ของนิตยสาร Bricks from the Kiln เรียงพิมพ์ด้วยตัวอักษร Marist ออกแบบโดยนักออกแบบตัวอักษร เซ็ป แมคลาฟแลน ในช่วงปี 2563 ถึง 2564 ตัวอักษรถูกแก้ไขไปตามการทำเนื้อหาของนิตยสารฉบับนี้ สิ่งพิมพ์ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดผลิตบนการรวมปัญหาที่พบในการทำงานฉบับที่ทำมาแล้วต่างๆ เป็นภาพสแนปช็อตตามเวลาจริงในขั้นตอนการพัฒนาและออกแบบตัวอักษร ตั้งแต่เริ่มแรกจนถึงขั้นทดสอบไปจนถึงเมื่อเสร็จสมบูรณ์ ปัจจุบัน ชุดตัวอักษรที่ “สมบูรณ์” มีครบชุดทั้งสำหรับพิมพ์(เช่นที่ใช้อยู่นี้) ตัวโรมัน medium, demi, bold and black weights รวมถึงตัวเอียง และตัวพิมพ์เล็ก ในเล่มนี้ เนื้อหาและชื่อบทความจะเรียงพิมพ์ด้วยตัวอักษรขนาด 10pt / 12pt และบันทึกบริบท / เชิงอรรถ (เหมือนข้อความนี้) จะเรียงพิมพ์ด้วยตัวอักษรขนาด 8pt / 9pt

งานออกแบบตัวอักษร Martist ได้แรงบันดาลใจจากการสืบย้อนประวัติศาสตร์และตำนานที่มักถูกมองข้าม (และบางครั้งก็ถูกดูหมิ่น)ในการออกแบบแนวโอลด์สไตล์ ตั้งแต่การพัฒนาในอิตาลียุคแรกเริ่มโดยนิโคลัส เจนซัน จนถึงการพลิกฟื้นการออกแบบแนวดังกล่าวโดยวิลเลี่ยม มอร์ริส  โดยโรงหล่อเดอะ โดฟ ไทป์ และคนอื่นๆ ไปจนถึงตัวอักษรชุดใกล้เคียงกันอย่างชุดไทม์สของสแตนลีย์ มอริสัน และตัวอักษรเล่นหางของเพลนติน ตัวอักษร Martist ดำเนินตามรอยหลักการการออกแบบเหล่านี้แบบหลวมๆ และพยายามหาสิ่งใหม่ที่เหมาะสมกับช่วงเวลาปัจจุบันของเรา

เกี่ยวกับ Bricks from the Kiln
“ความคิดของการผลิตเนื้อหาทั้งที่บนเรื่องกราฟิกดีไซน์หรือรอบๆ เรื่องกราฟิกดีไซน์ก็ตาม สัมพันธ์กับความจริงที่ว่าสิ่งพิมพ์เล่มนี้ได้รวมเอางานเขียนต่างๆ ที่ในที่สุดแล้ว เหนือสิ่งอื่นใดทำให้เราตื่นเต้นและสนใจในฐานะนักอ่านในขั้นแรก และที่ตามมาในขั้นที่สองคือในฐานะที่เป็นนักออกแบบและนักออกแบบตัวอักษร ข้อเขียนส่วนใหญ่ไม่ได้เกี่ยวกับ กราฟิกดีไซน์หรือการวิจารณ์งานกราฟิกดีไซน์  แต่เพราะพื้นหลังของเรามาจากกราฟิกดีไซน์ พวกมันจึงถูกมองผ่านเลนส์นี้ แต่เป็นการมองแบบปลายเปิดและตั้งใจคิดมาแล้ว บางครั้งกราฟิกดีไซน์ก็ถูกมองในแง่ลบ เหมือนเป็นปรสิตของงานด้วยความที่ตัวมันเองไปยึดโยงกับศาสตร์อื่นๆ แต่นั่นไม่ใช่ในกรณีของเรา การที่มันสามารถทำงานเป็นเหมือนตัวนำ ทั้งการสร้างรูปทรงและนำพาวัสดุ รวมถึงความใกล้ชิดเชื่อมต่อกับสาขาวิชาอื่นๆ เป็นสิ่งที่ดึงดูดเราเข้าหาศาสตร์การออกแบบนี้ตั้งแต่แรก บางทีคำว่า “เกี่ยวกับหรือเกี่ยวข้องกับกราฟิกดีไซน์” อาจจะไม่ใช่เสียทีเดียว แต่มันก็ดูเป็นคำที่อย่างน้อยก็ทั้งเฉพาะเจาะจงและคลุมเครือในเวลาเดียวกันมากกว่าคำว่า “วัฒนธรรมทางภาพ” หรือ “การสื่อสารผ่านภาพ” หรือกระทั้งคำอย่าง “วัฒนธรรมศึกษา” ซึ่งถึงอยู่ในขอบเขตที่ถูกต้อง แต่ก็ไม่ได้เข้ากับกับพวกเราเสียทีเดียว — แอนดริว ลิสเตอร์ และ แมทธิว สจวร์ต, สัมภาษณ์โดยพอล ไบเลย์ ในนิตยสารออนไลน์ Gradient

ISBN 978‐0‐9956835‐2‐5