Description
Rob Hamelijnck, Nienke Terpsma (Editors)
English
Altusried, Germany
19 x 13 cm, 360 pages, color, offset, glue bound, softcover
What life could be / the ambivalence of success is an oral history about place, living as an artist, being contemporaries and sharing a time frame with specific problems and enchantments. Photos, quotes, maps and documents, artists’ contributions and essays, are inserted into the flow of the conversations. Ten white pages are occupied by a scent.
In 2018 we started revisiting people, topics and places that featured in FGA’s 2008 The Swiss Issue, and soon focussed on cooperative forms of thinking, living and working together.
The cities we live in are changing rapidly. Their proclaimed success excludes many from affordable space to live and work. “To survive as a singular artist, we must organise collectively”, Pascal Gielen said. In this issue SciFi author P.M. asks: “How would you really like to live? What do you really want to do? In what kind of society would you feel comfortable?”
FGA adds: What could life be and what can art contribute to that? What can spur and support the possibility of imagining, building and living such proposals, and keep them outside the market? One co-op law from the 1920’s supports this idea, but Terrence McKenna sees the root of the matter underground, and suggests it is the largest rhizome of psychedelic mushrooms on earth that first sparked the collective imagination of what life could be.
ร็อบ ฮามแลงค์, นิงเก้ แทร์บชม่า (บรรณาธิการ)
ภาษาอังกฤษ
อัลทุสรีด, เยอรมนี
19 x 13 ซม, 360 หน้า, สี, ออฟเซต, ไสกาว, ปกอ่อน
What life could be / the ambivalence of success เป็นประวัติศาสตร์ปากเปล่า ที่เล่าถึงสถานที่ การใช้ชีวิตในฐานะศิลปิน การอาศัยอยู่ในโลกร่วมสมัย และใช้กรอบของเวลาของปัญหาและความหลงใหลร่วมกัน ภาพถ่าย ข้อความที่อ้างมา แผนที่ เอกสาร ข้อเขียนของศิลปิน และบทความ ถูกจัดเข้าไปในบทสนทนาที่ลื่นไหลไปภายในเล่ม ประกอบกับหน้ากระดาษสีขาว 10 หน้าที่มีกลิ่
ในปี 2561 เราเริ่มที่จะกลับไปเยี่ยมเยือนผู้คน หัวข้อ และสถานที่ ที่ถูกพูดถึงใน FGA ปี 2551 ที่ชื่อว่า The Swiss Issue และโดยฉับพลัน ได้มุ่งประเด็นไปที่รูปแบบการคิดร่วมกัน การอยู่ร่วมกัน และการทำงานร่วมกัน
เมืองที่เราอาศัยอยู่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว แต่ความสำเร็จต่างๆที่ออกไป กลับไม่นับรวมถึงการมีพื้นที่ราคาพอเอื้อถึงไว้ใช้ชีวิตและทำงาน “เพื่อที่จะเอาตัวรอดในฐานะศิลปินเดี่ยว เราต้องมีการจัดการอย่างเป็นกลุ่ม” ปาสกาล คีแลน กล่าว ในเล่มนี้ นักเขียนนวนิยายไซไฟ ที่ชื่อว่า P.M. ถามคำถามที่ว่า “เราอยากจะใช้ชีวิตอยู่อย่างไร อะไรที่คุณอยากจะทำจริงๆ และในสภาพสังคมแบบไหนที่คุณรู้สึกสบายใจที่จะอยู่”
FGA เสริมด้วยคำถามที่ว่า เราจะมีชีวิตอยู่แบบไหนได้บ้าง และศิลปะมีส่วนในการสร้างรูปแบบชีวิตนั้นอย่างไร อะไรเป็นสิ่งที่กระตุ้น และสนับสนุนให้เกิดการจินตนาการในการสร้างแบบร่างโครงการของอาคารและการใช้ชีวิต ที่จะกันเอาไว้ให้อยู่นอกตลาดซื้อขายทั่วไป ในช่วงทศวรรษที่ 1920 มีกฎหมายสหกรณ์ที่สนับสนุนแนวความคิดนี้ แต่เทอร์เรนซ์ แมคเคนน่า เห็นว่ารากของต้นเรื่องยังอยู่ใต้ดิน และเสนอว่ามันเป็นเหง้าที่ใหญ่ที่สุดของเห็ดหลอนประสาทที่มีอยู่บนโลก จุดเริ่มต้นที่ช่วยกระตุ้นจินตนาการร่วมว่าชีวิตจะเป็นไปแบบใดได้บ้าง
ISBN 978-3-0374623-2-4