THE AGAINST NATURE JOURNAL 2

Aimar Arriola and Grégory Castéra (Editors)

775 THB

 

Description

The  Against Nature Journal 2

Aimar Arriola and Grégory Castéra (Editors)

English 

2021
Published by Council 

France

23.5 x 14.7 cm, 144 pages, b/w, digital, glue bound, softcover 

This second issue – edited by Aimar Arriola and Grégory Castéra – revolves around the theme of migration, a crucial topic when addressing the forced displacement of LGBTQ+ people from contexts where “nature” is still used to criminalize consensual same-sex conduct or gender expression.

We are honored to publish a new short essay by Jasbir K. Puar that updates her work on homonationalism. In an interview with Indian activist Alok Hisarwala Gupta, we speak of how laws also cross borders, while legal researcher Waruguru Gaitho and activist Carl Collison offer different approaches to report- ing on claims for asylum. Fatima El-Tayeb’s vibrant essay invites us to consider the meaning of a queer “we,” while iconic writer and filmmaker Abdellah Taïa tackles everyday xenophobia in France. Poetry by Gloria Anzaldúa and Divya Victor offer personal reflections of homelessness and alienation, which resonate with the special visual contribution by artist Zoe Leonard, whose photographs focus on the quotidian movements of crossing the river border between the US and Mexico. Historian Zeb Tortorici addresses the notion of “against nature” through an engagement with the archive, while our ‘Columns’ section brings news from Brazil, India, Kenya, Lebanon, Morocco, and the UK, in a season marked by the Covid-19 pandemic.

 

The  Against Nature Journal 2
ไอมาร์ อาร์ริโอล่า และ เกรกอรี่ คาสเตอลา (บรรณาธิการ)

ภาษาอังกฤษ

2564
จัดทำโดย Council 

ฝรั่งเศส

23.5 x 14.7 ซม, 144 หน้า , ขาว/ดำ, ดิจิทัล, ไสกาว, ปกอ่อน

วารสารฉบับที่สองนี้ – ได้ไอมาร์ อาร์ริโอล่า (Aimar Arriola) และ เกรกอรี่ คาสเตอลา (Grégory Castéra) มาเป็นบรรณาธิการ เกี่ยวข้องกับเนื้อหาเรื่องการอพยพย้ายถิ่นฐาน ซึ่งเป็นหัวข้อสำคัญเมื่อกล่าวถึงการขับไล่คน LGBTQ+ ออกจากพื้นที่ที่“ธรรมชาติ” ยังคงถูกใช้ในการตีตราความผิดในพฤติกรรมรักร่วมเพศรวมถึงการแสดงออกทางเพศ

เรารู้สึกได้รับเกียรติที่ได้ตีพิมพ์เรียงความขนาดสั้นของยาสเบียร์ เค. พัวร์ (Jasbir K. Puar) ซึ่งเป็นการอัพเดทงานของเธอในเรื่องชาตินิยมรักร่วมเพศ (homonationalism), ในการสัมภาษณ์อลก ฮิซาร์วาลา คุปตา (Alok Hisarwala Gupta) นักกิจกรรมชาวอินเดีย เราพูดคุยถึงการข้ามเขตแดนของกฎหมาย, ในขณะที่วารุกุรุ ไกโธ (Waruguru Gaitho) นักวิจัยทางด้านนิติศาสตร์ และคาร์ล โคลลิสัน (Carl Collison) นักกิจกรรม เสนอแนวทางที่แตกต่างออกไปในการรายงานการขอลี้ภัย, เรียงความที่มีชีวิตชีวาของฟาติมา เอล-ทาเยบ (Fatima El-Tayeb) พาเราไปพิจารณาความหมายของคำว่า “เรา” ในกลุ่มเควียร์, นักเขียนและผู้กำกับภาพยนตร์ที่เป็นที่จับตามอง อับเดลลาห์ ทาย่า (Abdellah Taïa) นำเสนอเรื่องราวความเกลียดกลัวชาวต่างชาติ (xenophobia) ในชีวิตประจำวันในประเทศฝรั่งเศส, บทกวีโดยกลอเรีย อันซาลดูอา (Gloria Anzaldúa) และดิเวียร์ วิคเตอร์ (Divya Victor) แสดงถึงการสะท้อนมุมมองส่วนบุคคลกับเรื่องการไร้บ้านและความแปลกแยก, ผลงานภาพของศิลปินโซอี้ ลีโอนาร์ด (Zoe Leonard) มุ่งเน้นไปที่การเคลื่อนที่ข้ามพรมแดนระหว่างสหรัฐอเมริกาและเม็กซิโกซึ่งเกิดขึ้นเป็นประจำ, เซบ ทอร์โทริชี (Zeb Tortorici) นักประวัติศาสตร์ พูดถึงหัวข้อ “การฝืนธรรมชาติ” ผ่านการศึกษาเอกสารและบันทึก, ในส่วน‘Columns’ ของวารสารฉบับนี้ นำเสนอข่าวสารจากบราซิล อินเดีย เคนย่า เลบานอน โมร็อกโก และอังกฤษ ในช่วงเวลาที่มีการระบาดของโควิด-19