RISE OF THE ROBOTS: หุ่นยนต์ผงาด

Martin Ford (writer), Teepagorn Wuttipitayamongkol (translator)

415 ฿

In stock

Rise of the Robots: หุ่นยนต์ผงาด

Martin Ford (writer), Teepagorn Wuttipitayamongkol (translator)

Thai

2019

Published by Salt Publishing 

Bangkok, Thailand 

21 x 14.3 cm, 400 pages, b/w, offset, glue bound, softcover

What are the jobs of the future? How many will there be? And who will have them? As technology continues to accelerate and machines begin taking care of themselves, fewer people will be necessary. Artificial intelligence is already well on its way to making “good jobs” obsolete: many paralegals, journalists, office workers, and even computer programmers are poised to be replaced by robots and smart software. As progress continues, blue and white collar jobs alike will evaporate, squeezing working and middle-class families ever further. At the same time, households are under assault from exploding costs, especially from the two major industries-education and health care-that, so far, have not been transformed by information technology. The result could well be massive unemployment and inequality as well as the implosion of the consumer economy itself.

 

Rise of the Robots: หุ่นยนต์ผงาด

มาร์ติน ฟอร์ด (นักเขียน), ทีปกร วุฒิพิทยามงคล (นักแปล)

ภาษาไทย 

2562
จัดทำโดย สำนักพิมพ์ Salt 

กรุงเทพฯ, ไทย 

21 x 14.3 ซม, 400 หน้า, ขาว/ดำ, ออฟเซต, ไสกาว, ปกอ่อน 

จะมีงานอะไรบ้างในอนาคต? จะมีจำนวนเท่าไหร่? และใครที่จะเป็นคนที่ได้งานนั้นไป? เนื่องจากเทคโนโลยียังคงเร่งอัตราเร็วอยู่เสมอ และเครื่องจักกลเริ่มที่จะดูแลตัวเองได้ มนุษย์เลยเป็นที่ต้องการน้อยลง ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intlligence) กำลังจะทำให้ อาชีพที่ดี กลายเป็นวิถีทางที่ล้าสมัย: อาชีพอย่างผู้ช่วยทนายควา นักข่าว พนักงานออฟฟิศ และแม้กระทั่งโปรแกรเมอร์พร้อมที่จะถูกแทนที่ด้วยหุ่นยนต์และซอฟต์แวร์อัจฉริยะ ในขณะที่โลกดำเนินไป อาชีพมนุษย์เงินเดือนจะหายไปงานต่างๆ จะถูกจำกัด และครอบครัวคนชั้นกลางจะถูกกดดันมากขึ้นเรื่อยๆ ในขณะเดียวกันแต่ละครัวเรือนก็จะตกอยู่กับภาระค่าใช้จ่ายที่เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะจากอุตสาหกรรมหลักใหญ่ๆ สองอย่าง คือการศึกษาและสุขภาพ ซึ่งจนถึงตอนนี้ยังไม่ได้ถูกเปลี่ยนแปลงโดยเทคโนโลยีสารสนเทศ ผลที่ตามมาอาจจะเป็นการว่างงานและความเหลื่อมล้ำอย่างมหาศาล เช่นเดียวกับการพังทลายของเศรษฐกิจการบริโภคเอง