WE HAVE FOUND IN THE ASHES WHAT WE HAVE LOST IN THE FIRE

Rushdi Anwar 

550 ฿

In stock

Description

We Have Found in the Ashes What We Have Lost in the Fire
Rushdi Anwar 

The Museum of Unfortunate Events / X

English / Thai 

2019
Published by Waiting You Curator Lab 
Printed by Pattara Prepress 

Chiang Mai, Thailand 

15 x 10.5 cm, 56 pages, color, digital, saddle stitch, softcover

We Have Found in the Ashes What We Have Lost in the Fire  presents a collection of photographs that resemble a visual journal of the artist’s own travels to Bashiqa, a town North East of the capital city of Mosul, which is currently embroiled in a border dispute between the governments of Iraq and Kurdistan. The artist visited the town towards the end of 2016, just a few months after ‘Peshmerga’ liberated its people from the oppressive rule of ISIS, which has occupied the territory since 2014. With a majority of the territory’s population being either Christian or Yazidis, the two years spent under ISIS occupation has been nothing less than a living nightmare for the people of Bashiqa, who suffered through killings, forced migration, to the invaders’ unceasing efforts to wipe out the region’s original faiths. 

Rushdi Anwar was born in Kurdistan, though he currently resides in the Chiang Mai province of Thailand. His works aim to shine a light on the on-going conflicts between the societies and politics within Kurdistan, Iraq, and the Middle-Eastern region in general, through his own experiences and memories. 

 

ในเถ้าถ่าน เราได้พบกับสิ่งที่สูญหายไปในกองเพลิง
รัชดี อันวาร์

พิพิธภัณฑ์แห่งเหตุการณ์ไม่สมประสงค์ / 10

ภาษาอังกฤษ / ภาษาไทย 

2562
จัดทำโดย Waiting You Curator Lab
พิมพ์โดย ภทระ พรีเพรส

เชียงใหม่, ไทย

15 x 10.5 ซม, 56 หน้า, สี, ดิจิตอล, เย็บมุงหลังคา, ปกอ่อน 

ในเถ้าถ่าน เราได้พบกับสิ่งที่สูญหายไปในกองเพลิง นำเสนอชุดภาพถ่ายบันทึกการเดินทางของศิลปิน ในขณะเดินทางไปยังเมืองบาชิกา ที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของโมซูล ที่กำลังมีกรณีพิพาทด้านอาณาเขตระหว่างอิรักและเคอร์ดิสถาน ศิลปินเดินทางไปเมืองนี้เมื่อปลายปี 2559 ไม่กี่เดือนหลังจาก ‘ผู้เผชิญความตาย’ (Peshmerga) เข้ามาปลดแอกผู้คนจากการกดขี่ของกองกำลังไอซิสที่เข้ามายึดไว้ตั้งแต่ปี 2557 ด้วยประชากรส่วนใหญ่ของบาซิกาคือชาวคริสต์และชาวยาซิดี ช่วงเวลาสองปีที่ภายใต้ไอซิสจึงเป็นเหมือน ‘ฝันร้าย’ อันยาวนานของคนที่นั่น ไม่ว่าจะเป็นการล่าสังหาร, การถูกทำให้พลัดถิ่น ไปจนถึงความพยายามของผู้รุกรานที่จะลบเลือนความเชื่อทางศาสนาของเจ้าของพื้นที่ให้หายไป

รัชดี อันวาร์ มาจากเคอร์ดิสถาน ปัจจุบันอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ เขามุ่งนำเสนอเกี่ยวกับประเด็นความขัดแย้งทางสังคมการเมืองของเคอร์ดิสถาน อิรัก และภูมิภาคตะวันออกกลาง ผ่านประสบการณ์และความทรงจำส่วนบุคคล ทั้งยังสัมพันธ์กับประเด็นทางสังคมร่วมสมัย 

Additional information

Weight 0.078 kg